ประวัติการ กบฏ ปฏิวัติและการรัฐประหารในประเทศไทย

ประวัติการ กบฏ ปฏิวัติและการรัฐประหารในประเทศไทย





'กบฏ ปฏิวัติ รัฐประหาร' โดยสาระสำคัญแล้วการทำรัฐประหาร คือ การใช้กำลังอำนาจเข้าเปลี่ยนแปลงอำนาจของรัฐ โดยมากหากรัฐประหารครั้งนั้นสำเร็จ จะเรียกว่า 'ปฏิวัติ' แต่หากไม่สำเร็จจะเรียกว่า'กบฏ'
จากพ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2534 มีการก่อรัฐประหารหลายครั้งทั้งที่เป็นการปฏิวัติและเป็นกบฏมีดังนี้

พ.ศ. เหตุการณ์หัวหน้าก่อการรัฐบาล2475ปฏิวัติ 24 มิถุนายน
พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ2476 รัฐประหาร
พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
2476
กบฎบวรเดช
พล.อ.พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าบวรเดช พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา
2478
กบฎนายสิบ
ส.อ.สวัสดิ์ มหะหมัด พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา
2481
กบฎพระยาสุรเดช
พ.อ.พระยาสุรเดช พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา
2490
รัฐประหาร
พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ พล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
2491
กบฎแบ่งแยกดินแดน
ส.ส.อีสานกลุ่มหนึ่ง นายควง อภัยวงศ์
2491
รัฐประหาร
คณะนายทหารบก นายควง อภัยวงศ์
2491
กบฏเสนาธิการ
พล.ต.สมบูรณ์ ศรานุชิต จอมพล ป. พิบูลสงคราม
2492
กบฎวังหลวง
นายปรีดี พนมยงค์ จอมพล ป. พิบูลสงคราม
2494
กบฎแมนฮัตตัน
น.อ.อานน บุณฑริกธาดา จอมพล ป. พิบูลสงคราม
2494
รัฐประหาร
จอมพล ป. พิบูลสงคราม จอมพล ป. พิบูลสงคราม
2497
กบฎสันติภาพ
นายกุหราบ สายประสิทธิ์ จอมพล ป. พิบูลสงคราม
2500
รัฐประหาร
จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ จอมพล ป. พิบูลสงคราม
2501
รัฐประหาร
จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ จอมพล ถนอม กิตติขจร
2514
รัฐประหาร
จอมพล ถนอม กิตติขจร จอมพล ถนอม กิตติขจร
2516 ปฏิวัติ
14 ตุลาคม ประชาชน จอมพล ถนอม กิตติขจร 2519
รัฐประหาร
พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
2520 กบฎ
26 มีนาคม พล.อ.ฉลาด หิรัญศิริ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร
2520
รัฐประหาร พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่
นายธานินทร์ กรัยวิเชียร
2524 กบฎ 1
เมษายน
พล.อ.สัณห์ จิตรปฏิมา พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
2528 การก่อความไม่สงบ
9กันยายน พ.อ.มนูญ รูปขจร * พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ 2534
รัฐประหาร
พล.อ.สุนทร คงสมพงษ์ พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ * คณะบุคคลกลุ่มนี้ อ้างว่า พลเอก
เสริม ณ นคร อดีตผู้บัญชาทหารสูงสุดเป็นหัวหน้า แต่หัวหน้าก่อการจริงคือ พ.อ. มนูญ
รูปขจร ประวัติการปฏิวัติรัฐประหารและกบฎ ในประเทศไทย (
2475 - 2534)